ReadyPlanet.com
dot
dot
เนื้อหาสาระ
dot
bulletเจตนารมณ์
bulletจากใจผู้จัดทำ
bulletส่องฟ้าฝ่ากระแสดาว
dot
ภาควิชาการ
dot
bulletสากลยูเรเนียนสัมพันธ์
bulletวิวัฒนาการองค์ความรู้แห่งโหรสยาม1
bulletวิวัฒนาการองค์ความรู้แห่งโหรสยาม 2
dot
บทความน่าอ่าน
dot
bulletคานทองนิเวศม์
bulletดวงเมียน้อย
bulletรสนิยมรักกับดวงชะตา
bulletอาจารย์ขา!แฟนหนูเป็นเกย์?!
bulletเรื่องอย่างว่า!!เอ๊ะยังไงกัน?
bulletเมื่อไหร่จะขายออกซะที?
bulletใครเอ่ย?เนื้อคู่คุณ..
bulletจุดรับเงินคุณเป็นอย่างไร?
bulletจุดล้มละลาย
bulletเพ่งดวงลูกน้อง
bulletเบอร์ฮัลโหลกับโหราศาสตร์
bulletเมื่อไหร่จะถูกหวย??
bulletงานสมพงษ์
bulletปั้นดินให้เป็นดาว
bulletถูกดองตำแหน่งหรือแป๊กขั้น
bulletทำอย่างไรให้ขายดี!!
bulletวิ่งให้ถูกเส้น ทำอย่างไร?
bulletจับงานใหญ่ต้องใช้ฤกษ์
bulletเอาฤกษ์เอาชัย
bulletลางสังหรณ์พารวย
bulletดวงผิดเพศ
bulletสัมผัสที่ 6
bulletคนเห็นผี
bulletคนตกยุค
bulletดวงดาวกับปัญหาสายตา
bulletศัลยกรรมใบหน้ากับโหราฯ
bulletต้นไม้เสี่ยงทาย
bulletสะเดาะเคราะห์ทำได้จริงหรือ?
bulletเทียนอาถรรพณ์
bulletพระเกตุ ดาวทิพย์แห่งโหรสยาม
bulletบทความ อจ.วิโรจน์ กรดนิยมชัย
bulletมุมสัมพันธ์ระหว่างดาว
bulletเรือนชะตาจันทร์
bulletดาวไร้สัมพันธ์
bulletเว็บไซด์โหราฯ ที่น่าสนใจ
bulletธุรกิจ " หมอดู "
bulletตรวจสุขภาพด้วยโหราฯ
bulletกลุ่มโหราพารวย
bulletกลุ่มโหราหารัก
bulletกลุ่มโหราพารุ่ง
bulletโหราพาสนุก
bulletกลุ่มโหราพาสยอง
bulletกลุ่มโหราอาถรรพณเวทย์
bulletกลุ่มโหราสุขภาพ
bulletอาลัยพี่กุ้ง " กิตติคุณ เชียรสงค์ "
bulletกลุ่มสืบจากดวง
bulletกลุ่มโหราพยากรณ์
bulletกิจกรรมโหรา ' Sky Clock '
bulletท่านปัญญานันทะ
bulletอาลัยอาปื้ด ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา
bulletจิ๊กซอร์ของโหราศาสตร์สากลยูเรเนียน
bulletสะเดาะเคราะห์แก้อาการเซ็ง
bulletสืบจากศพ..ทำไมถึงตาย
bulletอุตุโหราฯ
bulletไซโคลนนากรีส
bulletรอยสักสยองขวัญ
bulletบทความ "ระวังยูเรเนียน " ..โดย จรัญ พิกุล
bulletจังหวะฟ้ากับการนั่งสมาธิ
bulletพายุเฮอริเคน IKE
bulletอาลัยท่าน Udo Rudolph
bulletเสน่ห์มหานิยมจากริงโทนรอสาย
bulletรสนิยมเรื่องอย่างว่ากับอาหารการกิน
bulletเรื่องของไฝกับไอ้นั่น
bulletเรื่องของ ขน โลมา และอารมณ์
bulletยาโป๊วกับโหราศาสตร์
bulletของแสลงผิดสำแดงอารมณ์เพศ
bulletอาลัยพญาอินทรีแห่งวงการน้ำหมึก 'รงค์ วงษ์สวรรค์
bulletสะดือกับการพยากรณ์
bulletกรณีศึกษาการกลับชาติมาเกิด
bulletสยามยามวิกฤติ ตอนที่ 1
bulletรุจน์ รณภพ ดาราเจ้าบทบาท
bulletโหราจารย์มานิตย์ ธีรเวชชโรกุล ... ดวงครูที่น่าศึกษา
bullet...
bulletอีรีส (Eris )เทพเจ้าแห่งความขัดแย้งวุ่นวาย
bullet หลักวิธีการแก้กรรมในระบบโหราศาสตร์สากลยูเรเนียน
bullet100 ปี พระพุทธเจ้าหลวงกับดาวหางฮัลเลย์
bulletโหราสาธยาย
bulletโหราศาสตร์คืออะไร
bulletสารบัญ
bulletประวัติและความเป็นมาของวิชาโหราศาสตร์
bulletปรัชญาในการศึกษาวิชาโหราศาสตร์
bulletจุดลากรองจ์ (Lagrange Point )
bulletการหาเวลาเกิด ตำรับโหรจรัญ พิกุล
bulletAnalemma อาถรรพณ์แห่งเส้นสุริยวิถีกับโหราศาสตร์สากลยูเรเนียน
bulletหลักสูตรโหราศาสตร์สากลยูเรเนียนระบบจานสองชั้น 80 ชั่วโมง




จุดลากรองจ์ (Lagrange Point )

จุดดาวเทียมหรือจุดลากรองจ์ (Lagrange Point ) กับโหราศาสตร์สากลยูเรเนียน

โดย  ภารต  ถิ่นคำ

       จุดอิทธิพลในทางโหราศาสตร์สากลยูเรเนียนนั้น เท่าที่ศึกษาทราบมาก็มีมากมายหลายปัจจัย ซึ่งแต่ละปัจจัยต่างก็มีที่มาจากกระบวนการคำนวณในวิชาทางคณิตดาราศาสตร์ทั้งสิ้น  เช่น จุดลัคนา จุดเมอริเดียน จุดเวอร์เทค จุดองค์ลาภ จุดตั้งต้นเรือนชะตาต่างๆ จุดเมษ จุดกรกฏ ราหู  เกตุ  ดาวทิพย์ต่างๆ รวมไปถึงตำแหน่งปัจจัยสะท้อนต่างๆ ฯลฯ เป็นต้น จุดทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีตัวตนในเชิงปรากฏการณ์ประจักษ์ คือไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปวัตถุ แต่เพียงเป็นแค่ จุดพิกัดที่กำหนดขึ้นบนทรงกลมฟ้าที่รับรู้ได้ในเชิงค่าคำนวณ

       แต่ถึงกระนั้นแต่ละจุดปัจจัยดังกล่าวก็มีที่มาและหลักทฤษฎีทางดาราศาสตร์รองรับ และเนื่องจากวิชาดาราศาสตร์กับโหราศาสตร์สากลนั้นต่างก็เคยมีรากฐานร่วมวิชากันมาก่อนในอดีตกาล

       ซึ่งในทางวิธีแนวอนุมานของกระบวนการประมวลหาเหตุผลแล้ว  อะไรก็ตามที่มีในวิชาดาราศาสตร์ก็มักจะถูกนำไปใช้ได้ในทางโหราศาสตร์สากลเช่นกัน  เหตุผลที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะเรื่องนั้นเป็นเรื่องจริงของธรรมชาติที่สามารถพิสูจน์ได้ในเชิงวิทยาศาสตร์


       จุดดาวเทียมหรือจุดลากรองจ์ คืออะไร
      ในการศึกษาเส้นแรงของสนามแรงดึงดูดระหว่างมวลขนาดใหญ่แล้ว ตรงตำแหน่ง L1,L2,L3และL4 กับ L5 นั้น ถือกันว่าเป็นจุดบอดของเส้นแรงดึงดูดระหว่างมวลนั่นเอง ในที่นี้ วงกลมสีเหลืองคือ ดวงอาทิตย์ และ วงกลมสีเทาที่อยู่ระหว่าง L1  กับ L2 นั้นหมายถึง โลก เส้นสีขาวและสีเหลือง แสดงถึง แนวสนามแรงดึงดูดระหว่างมวลดาว ในที่นี้ก็คือ โลก กับ ดวงอาทิตย์ นั่นเอง

ถ้าผู้สังเกตอยู่นอกโลก  มองเข้ามาดูที่โลกกับดวงอาทิตย์  L4 และ L5 จะทำมุมกับแนวเส้นตรงของระยะทางระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก เชิงมุม 60 องศา ทั้งบน L4และล่าง L5

    (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมความเข้าใจได้ที่  http://www.esa.int/esaSC/SEMM17XJD1E_index_0.html )

       ตรงตำแหน่ง L1 นั้น ปัจจุบันมีดาวเทียมชื่อ โซโห SOHO (Solar and Heliospheric Observatory Satellite )และที่  ตำแหน่ง L2 มีดาวเทียมชื่อ WMAP (The Wilkinson Microwave Anisotropy Probe ) ลอยโคจรอยู่

       ส่วน L4และ L5 นั้น คงสภาพเสถียรในระยะเชิงมุม 60 องศากับดวงอาทิตย์

        และที่สำคัญก็คือ L3 นั้น มองไม่เห็นจากโลก เพราะดวงอาทิตย์บังไว้ เป็นตำแหน่งในอุดมคติ มีชื่อว่า เป็นตำแหน่งดาวเคราะห์ X ( Planet X ) ซึ่งโด่งดังเป็นที่กล่าวขวัญถึงกันอยู่ในแนวนิยายวิทยาศาสตร์ประเภทแฟนตาซี ถึงขั้นที่ Hollywood นำเอามาสร้างเป็นภาพยนตร์Series ชื่อ The Man From Planet X

         

( Joseph Louis Lagrange 1736 - 1813  )

          ทฤษฎีดังกล่าวนี้ เกี่ยวข้องกับโจทย์ปัญหาเรื่อง  ระยะระนาบและเชิงมุมของวัตถุ 3 ชิ้น ซึ่งผู้ที่คิดค้นตีโจทย์ของปัญหานี้ได้สำเร็จเป็นคนแรก คือ นักคณิตศาสตร์ลูกครึ่ง อิตาเลียน-ฝรั่งเศส ชื่อ โจเซฟ ลากรองจ์    
(ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมความเข้าใจ ได้ที่
http://www.physics.montana.edu/faculty/cornish/lagrange.pdf )

          สำหรับนักโหราศาสตร์สากลยูเรเนียนนั้น เรื่องนี้อาจจะเป็นเรื่องที่จะว่าใหม่เอี่ยมไปเลยก็อาจจะไม่เชิงนัก เพราะเรารับรู้กันมาว่า มุม 60 องศา นั้นเป็นมุมที่ให้คุณชั้นเยี่ยมและก็ใช้กันมาเนิ่นนานแล้ว แต่หลังจากที่ผู้เขียนอ่านพบเรื่องนี้ในวิชาดาราศาสตร์ภาคคำนวณ ในจุดประสงค์เพื่อจะหาดาวทิพย์ในเชิงยูเรเนียน        ( TransNeptune )เพิ่มขึ้น ในกฎเลขอนุกรมของ Titius-Bode Law ซึ่งได้แก่

a = (n+4)/10
a
being the distance from a planet to the Sun
n being a sequence of numbers: 0, 3, 6, 12, 24, 48, 96, 192 etc.

Johann Daniel Titius ( 1729 –1796 )

        ระหว่างที่ผู้เขียนหาดาวทิพย์ยังไม่พบเป็นเรื่องเป็นราวนั้น  ผู้เขียนกลับมาฉุกคิดเรื่องดาวเทียมขึ้นมาแทน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตำแหน่งเสถียรที่ปลอดแรงดึงดูดโน้มถ่วง และ ตำแหน่งระยะเชิงมุมของวัตถุ 3 ชิ้นในระนาบอื่นนอกเหนือจาก โลกและดวงอาทิตย์ ในมุมมองของทฤษฎีโหราศาสตร์แทน

        เหตุผลเพราะว่า ถ้าเป็นระนาบแนว ดวงอาทิตย์กับ ดาวพฤหัส ของ L4 และ L5 นั้น จะเข้าไปในวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยที่เรียกว่า อนุกรมดาวเคราะห์น้อย (Astroroid  )แถบหนึ่งในหลายๆแถบซึ่งแต่ละแถบก็มีหลายร้อยดวง ในแถบที่ว่านี้มีชื่อชุดเรียกว่า ชุด กลศึกม้าไม้โทรจัน (Trojan )แห่งกรุงทรอย ( Troy ) ซึ่งตั้งชื่อจากตัวละครแห่ง มหากาพย์ อีเลียตอันโด่งดังยุคโบราณของปราชญ์ชาวกรีกชื่อ   โฮเม่อร์ ( Homer ) ประพันธ์เอาไว้ ซึ่งในจำนวนนี้มีดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สำคัญอยู่ 3 ดวง อันได้แก่ Agamemnon911, Achilles 588 และ Hector 624  ซึ่งจากตำแหน่งของ Lagrange Point นั้น ทั้ง 3 ดวงนี้   มีทางเป็นไปได้หรือไม่ว่า  อาจจะมีบางอย่างที่น่าจะเกี่ยวข้องกับ ดาวทิพย์ชุดใหม่ในระบบโหราศาสตร์ยูเรเนียน?!!ในแง่ความหมายของ โชคลาภ และ มิตรภาพความผูกพันอันลึกซึ้ง ในเชิงความหมายแห่งการออกคำพยากรณ์ ซึ่งเรื่องนี้เป็นเพียงแค่ผู้เขียนสันนิฐานเอาเท่านั้น เหตุผลก็เพราะว่า ธรรมชาติคุณสมบัติของ L4 และL5 นั้น เป็นตำแหน่งคงที่ ในการสังเกตเส้นตรงระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวพฤหัสเท่านั้น  แต่เราเป็นมนุษย์โลกสังเกตสถาปนาฟ้าจากตำแหน่งบนโลก ดังนั้นดาวเคราะห์น้อยทั้ง 3 ดวงนี้จึงน่าจะถูกนำมาศึกษาทำสถิติไว้ด้วย

       จากข้อมูลทางดาราศาสตร์ปัจจุบัน ในช่วงกลางเดือน มีนาคม 2011

ดาวเคราะห์น้อย Agamemnon 911

มี(สมผุส ) Longtitude อยู่ที่ 22 องศา 50 ลิปดา ราศีมิถุน
Lattitude ฟ้า ที่ 19 องศา 37 ลิปดา เหนือ
  ผู้ค้นพบ
Karl Wilhelm Reinmuth


Discovery date March 19, 1919
Alternative
designations 1919 FD
Category    Jupiter Trojan
Epoch January 14, 1990 (JDCT 2447905.5)
Eccentricity (e) 0.068
Semi-major axis (a) 5.214
Perihelion (q) 4.860
 
Aphelion (Q) 5.569
Orbital period (P) 11.907 ปี
Inclination (i) 21.833
Longitude of the ascending node (Ω) 338.002
Argument of perihelion (ω) 81.492
Mean anomaly (M) 110.147

ในทางความหมายแนวเทพปกีรนัม แล้ว อกาเมมนอน เป็นเจ้าเมืองไมซีนี เป็นแม่ทัพหลวงชาวกรีกที่ยกไปตีกรุงทรอย จนสำเร็จ

  ในความหมายเชิงสำนวนโวหารแล้ว  คำว่า อกาเมมนอน หมายถึง ความโลภ การเอารัดเอาเปรียบ การเห็นแก่ได้  การช่วงชิงโดยใช้เล่ห์เพทุบายเพื่อให้ได้มา  ถ้าพิจารณาแล้วจะเป็น การได้มาโดยทำให้ผู้อื่นไม่เต็มใจเดือดร้อน  แม้เป็นโชคด้านรายได้ของตนก็ตาม

 

ดาวเคราะห์น้อย อาคิลลิส (Achilles 588)

ค้นพบโดย

Max Wolf

 

Discovery date

February 22, 1906

Designations

Named after

Achilles

Alternate name(s)

1906 TG

Minor planet
category

Trojan asteroid

Adjective

Achillean

Orbital characteristics

Epoch October 22, 2004 (JD 2453300.5)

Aphelion

890.944 Gm (5.956 AU)

Perihelion

662.395 Gm (4.428 AU)

Semi-major axis

776.669 Gm (5.192 AU)

Eccentricity

0.147

Orbital period

4320.803 d (11.83 a)

Average orbital speed

13.00 km/s

Mean anomaly

157.779°

Inclination

10.324°

Longitude of ascending node

316.583°

Argument of perihelion

132.770°

Physical characteristics

Dimensions

135.5 km

Mass

2.6×1018 kg

Mean density

2.0 g/cm³

Equatorial surface gravity

0.0379 m/s²

Escape velocity

0.0716 km/s

Rotation period

>0.5 d 1

Albedo

0.0328 2

Temperature

~124 K

Spectral type

D

Absolute magnitude (H)

8.67

 

 อาคิลลิส นั้น  ในทางความหมายสำนวนวรรณคดี  ท่านให้หมายถึง  จุดอ่อนที่คาดไม่ถึง

ดาวเคราะห์น้อย Hector 624

 

ผู้ค้นพบ August Kopff

Discovery date 10 February 1907

Designations

Named after Hector Alternate name(s) 1907 XM; 1948 VD Minor planet
category Trojan asteroid Adjective Hektorian

Orbital characteristics

Epoch 22 October 2004 (JD 2453300.5)

Aphelion 800.220 Gm (5.349 AU)

 Perihelion 762.145 Gm (5.095 AU)

Semi-major axis 781.183

 Gm (5.222 AU)

Eccentricity 0.024

 Orbital period 4358.521  d (11.93 a)

Average orbital speed 13.03 km/s

 Mean anomaly 94.752°

Inclination 18.198°

 Longitude of ascending node 342.791°

 Argument of perihelion 183.579°

 Satellites S/2006 (624)
Physical characteristics

Dimensions 370 km × 195 km × 195 km
 Mass ~1.4×1019 kg
Mean density 2 ? g/cm³
 Equatorial surface gravity ~0.067 m/s²
 Escape velocity ~0.13 km/s
Rotation period 0.2884 d (6.92 h)
 Albedo 0.025 (geometric)
Temperature ~122 K
Spectral type D
Apparent magnitude 13.79 to 15.26
Absolute magnitude (H) 7.49
Angular diameter 0.078" to 0.048"

ยังมีต่ออีกเยอะคับ







Copyright © 2010 All Rights Reserved.